ชวนรู้จัก ‘โรคซึมเศร้า’ เพราะสุขภาพใจสำคัญ ไม่แพ้สุขภาพกาย

‘PSU I SEE’ สรุปความจากการพูดคุยกับ รศ.ดร.พญ.รัศมี โชติพันธ์วิทยากุล จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เพื่อชวนทบทวนความเข้าใจ ‘โรคซึมเศร้า’ เพราะสุขภาพจิตสำคัญไม่แท้สุขภาพกายที่เราทุกคนใส่ใจดูแล

อ่านต่อ →

นักศึกษานิติศาสตร์ ม.อ. ตั้งโต๊ะล่ารายชื่อ พ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ไม่แบ่งสี-ฝ่าย หวังสังคมให้โอกาสคนเห็นต่าง

วันนี้ (13 ก.พ. 2567…

อ่านต่อ →

ม.อ. จับมือภาครัฐ-เอกชนแสดงเทคโนโลยี นวัตกรรมต่อยอดโอกาสเรียนรู้ ยกระดับเศรษฐกิจภาคใต้

บรรยากาศวันแรกของงาน SITE2024 – Southern Innovation and Technology Expo ที่รวบรวมเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมโครงงานวิจัยกว่า 200 โครงงาน พร้อมช่องทางเพิ่มโอกาสขยายธุรกิจ และพบกับผู้เชี่ยวชาญ นักวิจัย แลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบรรยายในหัวข้อต่าง ๆ โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนกว่า 350 ราย ระหว่างวันที่ 1-4 กุมภาพันธ์ 2567 ณ ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อ่านต่อ →

“น้ำมันไบโอดีเซลจากจุลินทรีย์ไขมันสูง” ผลพลอยได้จากสิ่งเหลือทิ้งโรงงานปาล์ม ผลงานชิ้นเยี่ยมของ”นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ”คนล่าสุดของ ม.สงขลานครินทร์

ศ.ดร.เบญจมาส เชียรศิลป์ อาจารย์ประจำคณะอุตสาหกรรมเกษตร ม.สงขลานครินทร์ อดีตนักเรียนทุนวิทยาศาสตร์ที่ชอบเรียนฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา เลือกเรียนสาขาวิศวกรรมเคมีเพราะไม่ต้องการทิ้งศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่งที่ชอบ และต่อปริญญาเอกเฉพาะทางด้านเทคโนโลยีชีวภาพสนใจการใช้จุลินทรีย์เพื่อจัดการของเสียหรือวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานปาล์มซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของภาคใต้ ความสนใจและความเชี่ยวชาญของอาจารย์เบญจมาสกลายเป็นงานวิจัยการใช้ประโยชน์จากน้ำทิ้งจากโรงงานปาล์มซึ่งยังมีสารอาหารที่สามารถเลี้ยงจุลินทรีย์ได้ โดยแต่เดิมอาจใช้ประโยชน์เพียงแค่การทำไบโอแก๊ส อาจารย์เบญจมาสใช้น้ำทิ้งจากโรงงานเลี้ยงยีสต์ไขมันสูงแล้วนำยีสต์ไปสกัดน้ำมันไบโอดีเซล หลังจากนั้นได้เกิดการใช้ประโยชน์จากน้ำทิ้งเพื่อเลี้ยงยีสต์ไขมันกันอย่างแพร่หลาย

อ่านต่อ →

พิพิธภัณฑฯ ม.อ. ได้รับรางวัลอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทย (Thailand Tourism Silver Awards) ครั้งที่ 14 ประจำปี 2566

พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา ๕๐ พรรษา สยามบรมราชกุมารี เป็นหน่วยงานที่ดำเนินการวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแหล่ง ฝึกอบรมด้านอนุกรมวิธานและความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตสำหรับ นักศึกษาและนักวิจัยทั่วโลก มีการถ่ายทอดความรู้ที่ได้จากงานวิจัยไปสู่ชุมชน อย่างเป็นรูปธรรม ผ่านการให้บริการความรู้นอกห้องเรียนด้วยนิทรรศการและกิจกรรมทางด้านธรรมชาติศึกษาและวิทยาศาสตร์ เพื่อปลูกจิตสำนึกให้เด็ก นักเรียน และประชาชนทั่วไป รู้สึกรักและหวงแหนทรัพยากรในท้องถิ่น จุดประกายให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติต่อไป

อ่านต่อ →

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดงาน “เศรษฐกิจไทย ก้าวอย่างไรให้ไกลกว่าเดิม” ยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ  สร้างความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคม

เมื่อวันที่ 9 กันยายน 2566 คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดงาน “เศรษฐกิจไทย ก้าวอย่างไรให้ไกลกว่าเดิม” ยกระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ สร้างความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจและสังคมมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ห้อง Conference Hall ศูนย์ประชุมนานาชาติฉลองสิริราชสมบัติ 60 ปี เพื่อร่วมฉลองวาระครบ 20 ปี การก่อตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.วศิน สุวรรณรัตน์ รองอธิการบดีวิทยาเขตหาดใหญ่ ให้เกียรติเปิดงาน

อ่านต่อ →

ม.อ. ร่วมกับ ชุมชนมัสยิด ซาฮิ ปากีสถาน นำเสนอคุณค่าของทุนวัฒนธรรม ภายใต้งาน “ชวนกันมาจิบชาปากีฯ”

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ร่วมกับ ชุมชนมัสยิด ซาฮิ ปากีสถาน จัดกิจกรรมภายใต้งาน “ชวนกันมาจิบชาปากีฯ” ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ณ มัสยิดปากีสถาน อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา โดยถือเป็นกิจกรรมหนึ่งในงานเทศกาลออกแบบปักษ์ใต้ครั้งแรกของภาคใต้ Pakk Taii Design Week ร่วมกับเครือข่ายนักสร้างสรรค์รุ่นใหม่ มุ่งเป้าหมายเพื่อนำเสนอคุณค่าของทุนวัฒนธรรมผ่านเรื่องราวความเป็นมา วิถีชีวิตของชาวมุสลิมปากีสถานในอำเภอหาดใหญ่ ซึ่งเป็นหนึ่งในพื้นที่ศึกษาของโครงการวิจัย “วิถีมงคลของนครหาดใหญ่บนฐานทุนวัฒนธรรมสู่การพัฒนาเศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์”

อ่านต่อ →

สยามอะโกรวิลล์ บริษัทร่วมทุนไทย-มาเลเซีย ผนึกกำลังกับอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคใต้ ชูนวัตกรรมฟาร์มโซลูชั่น ขับเคลื่อนภาคเกษตรไทยปลอดภัยอย่างยั่งยืน

บริษัท สยามอะโกรวิลล์ จำกัด ร่วมกับ อุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคใต้ จัด “พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) การดำเนินกิจกรรมวิจัยและพัฒนาการทำเกษตรแบบแม่นยำ” ในวันที่
27 กรกฎาคม 2566 เวลา 09.30-11.30 น. ณ อาคารอำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้ จ.สงขลา โดยมี ผศ.คำรณ พิทักษ์ ผู้อำนวยการอุทยานวิทยาศาสตร์ภูมิภาค ภาคใต้ กล่าวต้อนรับ และคุณสุณีย์ เลิศเพียรธรรม หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) กล่าวแสดงความยินดี

อ่านต่อ →

นักวิจัยคณะวิทยาศาสตร์ ม.อ. ร่วมกับภาคีเครือข่าย พบพืชวงศ์กระดังงา 2 ชนิดใหม่ของโลก

รศ.ดร.จรัล ลีรติวงศ์ สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ Prof. Dr. David M. Johnson: Biological Science Department, Ohio Wesleyan University, Delware, Ohio, U.S.A ดร.จิรัฐิ สัตถาพร: ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมรา และ นายสุเนตร การพันธ์: สถานีวิจัยสัตว์ป่า ป่าพรุ ป่าฮาลา-บาลา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา พบพืชชนิดใหม่ของโลกในสกุลบุหงาเซิง (Friesodielsia Steenis) ของพืชวงศ์กระดังงา (Annonaceae) จำนวน 2 ชนิดซึ่งได้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ฐาน WOS ระดับ Quartile 3 ชื่อวารสาร Phytotaxa

อ่านต่อ →

คณะทันตแพทยศาสตร์  ม.อ.ร่วมกับเทศบาลเมืองควนลัง  ลงนามความร่วมมือในการร่วมดูแลส่งเสริม ป้องกัน รักษาสุขภาพช่องปากที่ดี แก่ประชาชนในชุมชนควนสันติ หวังให้เป็นต้นแบบของชุมชนที่มีสุขภาพช่องปากที่ดี

วันที่ 17 กรกฎาคม 2566  คณะทันตแพทยศาสตร์  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดย ศาสตราจารย์ ดร.ทพญ.ชิดชนก ลีธนะกุล ผู้อำนวยการศูนย์ความเป็นเลิศสำหรับสุขภาพช่องปากและคณบดีคณะทันตแพทยศาสตร์  ลงนามความร่วมมือกับเทศบาลเมืองควนลัง โดยนายสมบูรณ์  ปัญญาธนกร นายกเทศมนตรีควนลัง เพื่อสร้างความเข้มแข็งต้นแบบในการเสริมสร้าง ป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก แก่ประชาชนชุมชนควนสันติ เทศบาลเมืองควนลัง  อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

อ่านต่อ →