Long COVID หรือ อาการหลงเหลือหลังติดเชื้อโควิด-19 ที่สามารถเกิดขึ้นได้มีอะไรบ้าง

คนไข้โควิด-19 ส่วนใหญ่ที่รักษาตัวที่โรงพยาบาล, โรงพยาบาลสนาม, Hospitel หรือสถานที่รักษาตัวผู้ป่วยโควิด-19 ต่าง ๆ เมื่อคุณหมออนุญาตให้กลับบ้านส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ หรือถ้ามีจะพบอาการเพียงเล็กน้อย  มักเป็นผู้ที่ได้รับการรักษาอย่างน้อย 14 วัน โดยมีใบรับรองแพทย์ยืนยันการรักษา

อ่านต่อ →

Booster dose แอสตราเซเนกาใต้ผิวหนัง ประสิทธิภาพใกล้เคียงฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ส่วนไฟเซอร์มีประสิทธิภาพเช่นกัน แต่น้อยกว่าการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ

หลังจากที่มีการศึกษาและวิจัยอย่างจริงจังเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนโควิด-19 แบบฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ทดแทนการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ผลวิจัยจากทีมงานคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พบว่า วิธีการฉีดเข้าใต้ผิวหนังได้ผลดี มีอาการข้างเคียงที่เกิดจากการฉีดวัคซีนน้อยลงมาก ที่สำคัญคือได้ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับการฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ซึ่งได้ทำการศึกษามาแล้วทั้งวัคซีนแอสตร้าเซเนก้าและวัคซีนไฟเซอร์

อ่านต่อ →

สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ชี้แจง “จ้างแรงงานเด็กต่ำกว่า 15 ปี ผิดกม. ส่วนอายุ 15-18 ปีจ้างได้ตามที่กม.กำหนด”

สวัสดิการและคุ้มครองแรงงานจังหวัด ชี้แจง การจ้างงานเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีผิดกฎหมาย แต่สามารถจ้างงานเด็กอายุ 15-18 ปีได้ ถือเป็นการจ้างแรงงานเด็ก แต่ปฏิบัติตามกม. คุ้มครองแรงงาน จ้างงานตามค่าแรงขั้นต่ำห้ามเก็บค่าประกันการทำงานโดยเด็ดขาด จากกรณีมีการแชร์ข้อความทางออนไลน์ว่าการจ้างงานเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีสามารถทำได้ไม่ผิดกฎหมาย

อ่านต่อ →

กรมอนามัย แนะวิธีทำความสะอาดศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) และศูนย์พักคอย

นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า จากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19 มีแนวโน้มพบผู้ติดเชื้อชะลอลง ทำให้ศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) บางพื้นที่เริ่มปิดลง เนื่องจากโรงพยาบาลสนาม หรือโรงพยาบาลในเขต อำเภอ หรือจังหวัด มีเตียงรองรับผู้ป่วยโควิด-19 เพียงพอ รวมถึงหน่วยบริการสาธารณสุขสามารถจัดบริการแยกกักตัวที่บ้าน (Home Isolation) ได้เพียงพอเช่นกัน โดยก่อนที่จะคืนพื้นที่นั้นต้องทำความสะอาดและฆ่าเชื้อ ทั้งอุปกรณ์และสถานที่ต่างๆ ตั้งแต่บริเวณพื้นทางเดิน โดยทำความสะอาดด้วยน้ำผงซักฟอกหรือน้ำยาทำความสะอาด และฆ่าเชื้อด้วยน้ำยาที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์เข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์ และเช็ดทำความสะอาดบริเวณที่มีการสัมผัสร่วม เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ที่จับประตูด้วยแอลกอฮอล์ 70 เปอร์เซ็นต์ หรือน้ำยาที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์เข้มข้น 0.1 เปอร์เซ็นต์

อ่านต่อ →

การปฏิบัติตนเมื่อออกจากโรงพยาบาลไปพักฟื้นที่บ้าน

โรคโควิด-19 รักษาหายแล้ว ต้องทำอย่างไร มีอะไรบ้างที่ต้องระวัง คนไข้โควิด-19 ส่วนใหญ่ที่รักษาตัวที่โรงพยาบาล, โรงพยาบาลสนาม, Hospitel หรือสถานที่รักษาตัวผู้ป่วยโควิด-19 ต่าง ๆ เมื่อคุณหมออนุญาตให้กลับบ้านส่วนใหญ่จะไม่มีอาการ หรือถ้ามีจะพบอาการเพียงเล็กน้อย  มักเป็นผู้ที่ได้รับการรักษาอย่างน้อย 14 วัน โดยมีใบรับรองแพทย์ยืนยันการรักษา โดยกลุ่มนี้ไม่จำเป็นต้องตรวจหาเชื้อก่อนกลับบ้านหรือกลับไปทำงาน

อ่านต่อ →