คุณสต๊อป พสคม ทองเจือ ผู้บริหารรุ่นที่สอง บริษัทเพลินอักษร บุ๊คเซ็นเตอร์ กับมุมมองสถานการณ์ธุรกิจหนังสือ รสนิยมการอ่านในปัจจุบัน และก้าวต่อไปของร้านนายอินทร์ หาดใหญ่
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จัดงานประชุมวิชาการประจำปี คณะแพทยศาสตร์ ครั้งที่ 39 ภายใต้หัวข้อ การแพทย์อนาคตไร้รอยต่อ (SEAMLESS FUTURISTIC MEDICINE) ระหว่างวันที่ 7 – 9 สิงหาคม พ.ศ. 2567 โดยภายในงานนอกจากมีการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับด้านการแพทย์แล้ว ยังมีการมอบรางวัลแพทย์ตัวอย่างภาคใต้ ซึ่งเป็นรางวัลอันทรงเกียรติ ที่มอบให้แก่แพทย์ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 14 จังหวัดภาคใต้ เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติแพทย์ผู้อุทิศตนและปฏิบัติงานในพื้นที่ภาคใต้ อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อนแพทย์และนักศึกษาแพทย์ในการสร้างสังคมคุณธรรม
“เพลิน พรหมแดน” เป็นชื่อที่คนรักเพลงลูกทุ่งไทยรู้จักดี
“สมส่วน พรหมสว่าง“ คือชื่อจริงของเขา
ย้อนดูจุดเริ่มต้นการทำ Book Club แนวคิดพวกเขาเป็นแบบไหน และในโอกาสครบ 1 ปี พวกเขามองเห็นความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ชวนอ่านบทสนทนาของเรากับ ‘Hatyai Book Club’
‘เจ้มี’ ผู้สืบทอดสูตรบ๊ะจ่างแสนอร่อยจากรุ่นอาม่า มากว่า 40 ปี ห่อสดใหม่ นึ่งร้อนๆ ใจกลางเมือง
คือบทสนทนา ที่ชวนสะท้อนแนวคิด ตัวตน ผ่านประสบการณ์หลายทศวรรษของ ‘กุลธวัช เจริญผล’ นักวาดภาพประกอบ ช่างเขียน
‘PSU Broadcast’ พูดคุยกับ ‘คอลดูน ปาลาเร่’ และ ‘อภิศักดิ์ ทัศนี’ สองผู้อยู่เบื้องหลังสำคัญของเพจ ‘Voice of Padang besar’ ถึงมุมมองต่อพื้นที่ แรงบันดาลใจของการทำ ‘สื่อ’ ท้องถิ่นนี้ และภาพหวังของปาดังเบซาร์ที่ตนอยากเห็น
เทศกาลเยาวชนสื่อสาร สร้างสรรค์เมือง หรือ Hatyai Scenario Fest เป็นโครงการแสดงผลงานจากเยาวชนจำนวน 6 ทีม ตามเรื่องราวทางวัฒนธรรมของ ‘อาคาร-อาหาร-อาภรณ์-อาชีพ-อายุ’ ในพื้นที่เมืองหาดใหญ่ ผ่านนิทรรศการ การแสดงแสง-สี ดนตรี ศิลปะ กิจกรรมเดินเมือง กิจกรรมวาดภาพเมือง (Urban Sketching) ฉายภาพยนตร์สารคดี กิจกรรมเวิร์กช็อป ซึ่งจะจัดตามหลายพื้นที่ในเมืองหาดใหญ่
จุดเริ่มต้นของขนมบ้านโกไข่เกิดเมื่อครั้งที่คุณพรศักดิ์ย้ายฐานการทำงานมาที่โรงไฟฟ้าจะนะ สงขลา ซึ่งไม่ไกลจากห้วยยอด บ้านเกิด คุณพรศักดิ์กลับบ้านทุกเดือน ก็ยังเห็นอาหรือโกไข่ทำขนม ส่งขนม รวมทั้งขนมที่เหลือเพราะขายไม่หมด ก็เกิดคำถามว่าทำไมขนมเหลือทั้งที่ขนมของครอบครัวรสชาติอร่อย เลยคิดอยากช่วยหาตลาดใหม่ๆ คุณพรศักดิ์เอาขนมจากที่บ้านห้วยยอด ตรังมาฝากขายร้านในหาดใหญ่ แต่ก็เจอปัญหาอายุการขายของขนมสั้นเพราะไม่ได้ใส่สารกันเสีย ถึงขนมจะอร่อยแต่ก็ขายไม่ดี เพราะไม่เป็นที่รู้จักของลูกค้า รายได้จากส่งขนมตามร้านไม่ดีนักคุณพรศักดิ์หาทางออกด้วยการหาเช่าร้านเพื่อเปิดร้านขายขนมของตัวเอง สาขาแรกของร้านขนมบ้านโกไข่ก็เกิดขึ้น
สังเกต ตั้งสมมุติฐาน ทดลอง และสรุปผล คือกระบวนคิดแบบวิทยาศาสตร์ที่มงคล คงบัน คุ้นเคยมาตลอดชีวิตการเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จนกระทั่งจบการศึกษาไปเป็นนักเคมีอยู่ระยะหนึ่ง และเมื่อเปลี่ยนเส้นทางจากนักเคมีสู่ธุรกิจอาหาร ทักษะทางวิทยาศาสตร์ในฐานะนักเคมีก็ยังคงเป็นรากฐานที่มงคลหรือชื่อเล่น “เหนียวกวน” หรือ “กวน” อันเป็นที่มาของชื่อร้าน “กวนนิโต้” (KUANITO) อ.นาโยง ใช้เป็นจุดเริ่มต้นการพัฒนาสูตรขนม จากคนที่ไม่เคยทำขนมมาก่อน สู่เจ้าของร้านขนมที่ออกแบบขนมทุกเมนูในร้าน ทั้งด้านรสชาติและหน้าตาด้วยฝีมือตัวเอง และผ่านการการันตีด้วยกระแสความนิยมกล่าวขานในความเป็นร้านขนมที่โดดเด่นของจังหวัดตรังตลอดช่วง 5 ปี ที่ผ่านมา