Category: News

Home / News

กรมควบคุมโรค เตือนช่วงหน้าฝนนี้ ขอให้ปชช. ระวังอันตรายจากการเก็บหรือซื้อเห็ดป่ามารับประทาน อาจเป็นเห็ดพิษ เสี่ยงเสียชีวิตได้

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เตือนในช่วงหน้าฝนนี้ มีเห็ดป่าขึ้นเองตามธรรมชาติ ประชาชนจึงเริ่มเข้าป่าเพื่อเก็บเห็ดมาขายหรือนำมาปรุงอาหาร ซึ่งเห็ดที่เก็บมาอาจเป็นเห็ดพิษ เมื่อรับประทานเข้าไปอาจเป็นอันตรายและเสี่ยงเสียชีวิตได้ แนะหากไม่แน่ใจว่าเป็นเห็ดพิษหรือเป็นเห็ดที่รับประทานได้ ไม่ควรนำมาปรุงอาหาร

โครงการฟาร์มตัวอย่างต้านภัยโควิด-19 จังหวัดสงขลา

โครงการฟาร์มตัวอย่างฯ ต้านภัยโควิด-19 ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ หวังให้สมาชิกมีรายได้ สามารถพึ่งพาตนเอง ทั้งยังได้เรียนรู้หลักการทำเกษตรทฤษฎีใหม่ เกษตรแบบพอเพียง มีแหล่งอาหารที่ปลอดภัยให้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชน สามารถสืบสาน รักษา ต่อยอด ตามรอยศาสตร์พระราชา อย่างยั่งยืน

5 วิธี ดูแลใจคนทำงาน ไม่ให้หมดไฟ ช่วงโควิด-19 (Burn Out)

ความเครียดเรื้อรังในการทำงาน ภาระงานหนัก และปริมาณงานมาก รวมถึงงานมีความซับซ้อน ต้องทำในเวลาเร่งรีบเป็นตัวการสำคัญให้วัยทำงาน เกิดภาวะ "BURNOUT SYNDROME" หรือ "ภาวะหมดไฟในการทำงาน" ซึ่งหากปล่อยไว้สะสมนานวันเข้าอาจเสี่ยงต่อการเกิดโรคซึมเศร้าได้

วัคซีนครอบครัว (พลังบวก-พลังยืดหยุ่น-พลังร่วมมือ)

วัคซีนครอบครัว (พลังบวก พลังยืดหยุ่น พลังยืดหยุ่น) เพื่อเพิ่มความเข้มแข็งของครอบครัว สร้างความสุขในสังคม หลังจากการระบาดของไวรัสโควิด-19 ประกอบด้วย 3 พลัง คือ พลังบวก การมองเห็นข้อดีของทางออกปัญหา , พลังยืดหยุ่น การปรับเปลี่ยนเป้าหมาย บทบาท วิธีการแก้ปัญหา รู้จักหาแหล่งสนับสนุนหรือให้ความช่วยเหลือ และพลังร่วมมือ การร่วมมือเป็นทีมเดียวกันเพื่อสู้ปัญหา ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข เร่งสร้างวัคซีนครอบครัว เสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันเป็นเกราะป้องกันปัญหาสุขภาพจิต

6 มาตรการป้องกันที่ควรปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด เพื่อรับชมภาพยนตร์ที่รักอย่างปลอดภัย

นับเป็นเวลาร่วม 75 วัน ที่โรงภาพยนตร์ทั่วประเทศต้องปิดตัวลงชั่วคราวเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 และในที่สุดวันที่แฟนๆ ภาพยนตร์รอคอยก็มาถึง เมื่อรัฐบาลได้ประกาศมาตรการผ่อนปรนระยะที่ 3 และอนุญาตให้กิจการโรงภาพยนตร์-โรงมหรสพเปิดทำการได้อีกครั้งตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายนที่ผ่านมา แต่ถึงแม้ว่าสถานการณ์จะเริ่มเป็นไปในทิศทางที่ดีขึ้น เราทุกคนยังคงต้องปรับตัวให้คุ้นชินกับความปกติใหม่หรือ New Normal และปฏิบัติตามมาตรการป้องกันอย่างเคร่งครัด

7 วิธี !! ที่ทำให้คุณกลายเป็น คนสุขภาพดีแบบจริงจัง

มีหลายคนตั้งเป้าหมายว่าอยากจะเริ่มต้นใหม่ทำอะไรหลายๆอย่างที่ยังไม่เคยทำหรือยังทำไม่สำเร็จ บางคนก็อยากเก็บเงินให้ครบตามจำนวนที่ตั้งไว้ บางคนก็ตั้งเป้าหมายเกี่ยวกับหน้าที่การงาน ในขณะที่หลายๆ คนก็ตั้งเป้าหมายเกี่ยวกับสุขภาพ แต่ถ้าเรามัวแต่พูดไม่ลงมือทำสิ่งต่างๆ ก็คงไม่เกิด มาเริ่มต้นกันที่ใกล้ตัวที่สุดนั่นคือ “สุขภาพ” วันนี้เราขอนำ 7 วิธีที่จะทำให้ทุกคนกลายเป็นคนสุขภาพดีแบบจริงจังกันเลยทีเดียว

หยุดซื้อ-กิน “ปูไข่นอกกระดอง” 1 ตัวออกลูกได้นับแสน !!

ปัจจุบันจำนวนปูมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากการประมง การจับปู และการบริโภคอย่างมหาศาลโดยไม่ได้ระมัดระวัง และไม่ได้คำนึงถึงความยั่งยืนของทรัพยากร วันนี้จึงชวนดูสถานการณ์ปู และวิธีการแก้ไขปัญหานี้ที่คุณเองก็สามารถมีส่วนร่วมช่วยได้

ฟู้ดโคม่า (Food Coma) อาการง่วงนอนหลังกินข้าว

อาการง่วงนอนหลังกินอิ่ม ทางการแพทย์เรียกอาการนี้ว่า ฟู้ดโคม่า (Food Coma) ในขณะที่เรารับประทานอาหารในแต่ละมื้อที่มักประกอบไปด้วยคาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน เมื่อผ่านระบบการย่อยอาหารแล้วร่างกายจะกลั่นกรองน้ำตาลหรือกลูโคส ที่สามารถซึมเข้าสู่กระแสเลือดนำไปใช้เป็นพลังงานในการใช้ชีวิตประจำ แต่ก็ยังมีกรดอะมิโนชนิดหนึ่งมาจากอาหารที่เราทานเข้าไปเช่นเดียวกัน เรียกว่า ทริปโตเฟน (Tryptophan) ซึ่งสารนี้จะเข้าสู่สมองและระบบประสาททำให้ลดความตึงเครียด และทำให้คุณเกิดอาการง่วงนอนได้

ใส่ Face Shield แต่ไม่ใส่หน้ากากอนามัย ป้องกัน COVID-19 ไม่ได้!!

พญ.พรรณพิมล วิปลากร อธิบดีกรมอนามัย เตือนอย่าใส่ Face Shield แทนหน้ากาก เสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้ เพราะการสวมใส่แค่กระจังหน้า หรือ Face Shieldเพียงอย่างเดียวแล้วไม่ใส่หน้าหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย เป็นการกระทำที่ไม่สมควร ไม่เพียงพอต่อการป้องกันโรคโควิด-19 เพราะ Face Shield เป็นเพียงอุปกรณ์เสริมของหน้ากากอนามัยเท่านั้น ไม่สามารถใช้ทดแทนกันได้ หากเจอเหตุไม่คาดคิด เช่น คนไอ หรือ จามใส่หน้า โดยเฉพาะบุคลากรทางสาธารณสุข ที่ต้องทำงานบนความเสี่ยงมากๆ หรือพนักงานร้านสะดวกซื้อ ที่ต้องเจอคนมากๆ Face Shield ไม่สามารถป้องกันละอองฝอยน้ำลายได้

สมองกับการนอน (REM Sleep)

การนอนเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ เป็นส่วนสำคัญของชีวิตที่มักจะถูกละเลย ไม่ได้รับความสนใจ ตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา เด็กทารกจะใช้เวลาส่วนใหญ่ทั้งกลางวันและกลางคืนในการนอน ช่วงเวลาของการนอนจะค่อยๆ ลดลงเรื่อยๆ เมื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่และวัยชรา การนอนหลับช่วยให้ร่างกายและสมองได้พักผ่อนหลังจากการทำงานมาอย่างต่อเนื่องในช่วงกลางวัน ไม่เคยมีมนุษย์คนไหนสามารถอดนอนได้เกินกว่า 7 วัน เนื่องจากสมองของคนๆ นั้นจะไม่สามารถทนสภาพเหนื่อยล้าเช่นนั้นได้ มนุษย์เราใช้เวลาในการนอนประมาณ 3,000 ชั่วโมงใน 1 ปี ซึ่งเท่ากับประมาณ 1/3 ของชีวิต ดังนั้นหากการนอนหลับไม่เพียงพอหรือมีปัญหา จะทำให้เกิดผลเสียต่างๆ ตามมาได้