ม.อ.พร้อมดูแล นศ. ที่ได้รับผลกระทบจากโรคโควิด-19 “นักศึกษาเรียนได้ มีทุนการศึกษาให้”

ผศ.สุพจน์ โกวิทยา รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนาศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ ม.อ. ได้เปิดเผยข้อมูลว่า มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ในวันที่ 13 ก.ค. 63 โดยการสอนจะเป็นการสอนแบบปกติ (เว้นระยะห่างของนักศึกษา) และการสอนแบบออนไลน์ควบคู่กันไป ทุกการดำเนินการของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จะเป็นไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการเรียนการสอนที่มีคุณภาพ และเป็นการดูแลความปลอดภัย และป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ให้ความมั่นใจมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์พร้อมดูแลนักศึกษาทั้ง 5 วิทยาเขต “นักศึกษาเรียนได้ มีทุนการศึกษาให้”

อ่านต่อ →

กฎหมาย 4.0 : กฎหมายกับขนส่งระบบราง

การส่งเสริมระบบเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องด้วยการพัฒนาเทคโนโลยี อุตสาหกรรม และการเชื่อมโยงการค้าระดับภูมิภาคและระหว่างประเทศในวงกว้าง จะต้องมีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อใช้ประโยชน์จากโอกาสทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น พร้อมกับการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน คือ ระบบการสื่อสาร ระบบการเงิน และระบบการขนส่งเพื่อสนับสนุนโอกาสทางการค้าและเพิ่มความความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย รวมถึงเพื่อกระจายโอกาสและความเจริญให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ นำไปสู่การเชื่อมโยงระหว่างเศรษฐกิจของประเทศไทยและเศรษฐกิจในระดับสากล

อ่านต่อ →

“Monstera” การปลูก การดูแล และโอกาสทางการตลาด

จากสถานการณ์ “โควิด-19” ที่ทุกคนจำเป็นต้องหลีกเลี่ยงการเข้าสังคม และลดกิจกรรมต่างๆ ที่ใกล้ชิดกับบุคคลอื่น เพื่อลดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรค ทำให้ “บ้าน” กลายเป็นสถานที่ที่ทุกคนต้องอยู่ และควรอยู่ การหากิจกรรมยามว่างที่สามารถทำได้ที่บ้าน จึงกลายเป็นเทรนด์ทุกคนหันมาให้ความสนใจ นั่นคือการ “ปลูกต้นไม้” ในบ้าน

อ่านต่อ →

ลดจน-ลดเจ็บ-เพิ่มสุข-เพิ่มศักยภาพชุมชน เป็นเป้าหมายของวิทยาเขต ม.อ. เพื่อสร้างความยั่งยืนให้ชุมชนภาคใต้

“แต่ละวิทยาเขตของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์มีบริบทที่ต่างกันไป และมีการการหนุนเสริมตามทุนที่เรามีอยู่ คือศิษย์เก่าที่มีศักยภาพทั้งในความเป็นนักวิชาการและในวิชาชีพของเขาเหล่านั้น เป็นทุนที่ดีของพื้นที่ในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย โดยมีเป้าหมายไปที่การ “ลดจน” ทั้งด้านเศรษฐกิจและศึกษา การ “ลดเจ็บ” คือการดูแลสุขภาพซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบในเชิงกว้าง การ “เพิ่มสุขและสันติภาพ” และการ “เพิ่มศักยภาพของพื้นที่” ’ในมิติของเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งโครงการต่างๆ ต้องทำให้เกิดขึ้นในเชิงประจักษ์จึงจะได้รับการยอมรับจากพื้นที่ ทุกคณะทุกหน่วยงานจึงต้องมีการตั้งเป้าหมายร่วมกันเพื่อทำให้สำเร็จ”

อ่านต่อ →

“New Normal” กับการใช้บริการทางเภสัชศาสตร์

เนื่องจากผลกระทบของเหตุการโรคระบาด COVID-19 ทำให้สถานการณ์ของประเทศรวมถึงสถานการณ์ระดับโลกมีความเปลี่ยนแปลงและเกิดการปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นด้านสังคม เศรษฐกิจ รวมถึงด้านสาธารณสุข ซึ่งผลกระทบจากการเกิดโรคระบาดในครั้งนี้มีแนวโน้มที่จะส่งผลในระยะยาวและส่งผลให้เกิดการปรับตัวเป็นอย่างมาก

อ่านต่อ →

TaWai for health : ตาไวกับการซื้อของออนไลน์

เครือข่ายการทำงานเพื่อผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2559 โดยได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานต่างๆ เช่น ศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ศูนย์เฝ้าระวังความปลอดภัยด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ (Health Product Vigilance Center Thailand) เขตบริการสุขภาพที่ 10 และเขตบริการสุขภาพที่ 12 เป็นต้น ทั้งนี้ในปี 2561 โครงการ TaWai for Health ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยและดำเนินการจาก สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (บูรณาการ) จึงได้ก่อตั้งเป็นหน่วยวิจัยและพัฒนานวัตกรรมเพื่อผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ สังกัดคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

อ่านต่อ →

Telepharmacy เภสัชกรรมทางไกล คืออะไร?

Telepharmacy คือ การบริบาลทางเภสัชกรรมและการส่งมอบเภสัชภัณฑ์จากเภสัชกรผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารทางไกลไปยังผู้ป่วย ที่อยู่ในสถานที่ที่แตกต่างกัน ผู้ป่วยจะได้รับยาและการดูแลรักษาทางเภสัชกรรม ภายในสถานที่ที่ปลอดภัยและสะดวกต่อการเข้าถึง ซึ่งครอบคลุมไปถึง การให้คำปรึกษาด้านยา (patient counseling), การติดตามการรักษาและผลข้างเคียง (drug therapy monitoring ) การจ่ายยาตามใบสั่งแพทย์ (refill the prescribed drugs)

อ่านต่อ →

“รับยาใกล้บ้าน เภสัชกรใกล้ใจ” ลดความแออัด ลดระยะเวลาการรอคอยรับยาที่โรงพยาบาล

กระทรวงสาธารณสุข ปรับกลยุทธ์ “รับยา ใกล้บ้าน” เพิ่มรายการโรค รายการยา ให้เหมาะสมกับพื้นที่ สร้างความรอบรู้ประชาชน ลดความแออัด ลดระยะเวลารอคอยผู้รับบริการในโรงพยาบาล พร้อมปรับปรุงระบบให้สามารถเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยและข้อมูลใบสั่งยาระหว่างโรงพยาบาลและร้านยา จัดระบบการขนส่งยาให้รวดเร็วทันเวลา เพิ่มการเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐานที่ร้านขายยา เพิ่มร้านยาใกล้บ้าน เพื่อความสะดวกของผู้ป่วย รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ป่วยรับทราบ สนใจ และเกิดความเชื่อมั่นในการใช้บริการอีกด้วย

อ่านต่อ →

Family Pharmacist มีเภสัชกรประจำครอบครัวดีอย่างไร ?

เภสัชกรประจำครอบครัว (Family Pharmacist) คือเภสัชกรที่ดูแลเรื่องการใช้ยาของผู้ป่วยร่วมกับครอบครัวของผู้ป่วย เพื่อให้เกิดประสิทธิผลและความปลอดภัย โดยครอบคลุมทุกมิติที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ยา ไม่ว่าจะเป็นร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สภาวะทางเศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และเป็นหนึ่งในทีมงานของสหสาขาวิชาชีพ เช่น แพทย์ พยาบาล ทันตแพทย์ นักกายภาพบำบัด นักโภชนาการ ในการดูแลผู้ป่วยและครอบครัว

อ่านต่อ →

“สงขลานครินทร์” ตั้งเป้าเป็นแหล่งเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และใช้เทคโนโลยีในการจัดการปัญหาพื้นที่

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ตั้งวิสัยทัศน์โดยรวมที่มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้องค์ความรู้และนวัตกรรมของทั้ง 5 วิทยาเขต คือ ปัตตานี หาดใหญ่ ภูเก็ต สุราษฎร์ธานี และตรัง เพื่อเป็นรากฐานให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ ศึกษาศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยแต่ละวิทยาเขตมีทั้งความเหมือนและมีจุดเด่นในคณะวิชาหลักๆ ที่ต่างกัน มีความทันสมัย ความเข้มแข็งของการเรียนการสอน การสามารถนำไปใช้กับชีวิตจริงได้ เน้นการทำประโยชน์เพื่อสังคม

อ่านต่อ →